Speed Reading Basics
By Jonathan Mayheart
Credit:http://all-free-info.com/speed-reading/
Speed reading is vital in today�s business and academic world, with the vast information that the internet offers, and the huge amounts of reading tasks an average manager or student faces, there is really no choice but to try and increase the intake of information.
In the last forty years there has a been an explosion of information, we are living the information revolution and that requires a lot of young professionals a great deal of effort in digesting this information and making good use of it.
Most of the people who attend speed reading courses and classes have some kind of problem, or believe they have some kind of problem, with their reading, here are a few of these potential problems.
Lack of concentration or partial/impaired concentration is an obvious problem for speed reading, the effects of the environment on ones reading rhythm and the general tendency of some people to be able of acceptable reading rate only in ideal situations. This problem is one of the basic speed reading problems and is usually dealt with in most courses.
Poor eye movement may cause some readers to shift their eyes to other directions and than go back to the book or paper to relocated the last point read. This problem also correlates with poor mechanical skills, which can be a real problem in speed reading.
Short attention span is a clear problem, almost everyone knows this problem, you start strong and begin to slow down as you read on. This kind of problem typically creates a situation of going back to re-read some lines over and over again, or a need to read the same sentence a couple of times for lack of understanding or loosing the line of thought altogether.
Reading by heart, when a person reads to himself (muttering the words or even reading out load) is an obvious problem since speed reading is much faster than talking, the reading out load inhibited the ability to read fast and also regulates a slow input of information into the cognitive.
Delayed reaction to information and material � This delay often comes from inattention, reading ahead or distraction. Desire to remember every word � This is loosely related to the tendency to re-read or slow down.
So what can you do to increase your reading skills? Do you really need to try speed reading you should you consider just eliminating some of these problems. The answer is most likely dependent of what you need, no matter what you problem is, you need to address the problem.
To try and read faster, here are a few tips that would get you going. Think of reading as a �pick and choose� activity, where you can choose to read the words and phrases that are critical to comprehension, and skip over the connective tissue.
One major key in speed reading is filtering out all the words that has nothing to do with the subject and naturally, there a lot of them. All the connecting words, basically words that are there to connect one word with the other to make a sentence (TO make A sentence) the �and� �it�s� and �and�s� have got to go, just make yourself blind to them, go over these words and do not dwell on reading or noticing them.
Practicing time reading is also good, set up a timer and see how much you read in one minute, and in five minutes. Try and honestly estimate how much did you get from the text (make sure this is something you read for the first time), and try to beat yourself at this over and over again, until you start to feel that you have moved up one level. Experiment with different texts, and try to find books with text that has some questions about what you just read so you can apprise your understanding. Evaluate your situation every time you do this, reading faster sometimes mean that you will make more mistakes on understanding the subject, you should start making �mental notes� while reading so you will not fail answering the questions.
Train yourself to read more quickly by forced timing. If you are a runner, training for a race, you go out and run every day and you try to improve your time or your distance.
Set a timer and run a reading race every day for two to four weeks. You do not have to spend more than five minutes on this exercise. You may become frustrated, at first, by the fact that you cannot read as fast or remember as much as you would like.
Practice makes perfect, and this is the most basic thing you can do to increase your reading speed, in two weeks you should see some improvement, and you should work on the weaker aspects of your reading skills. This is the start of speed reading, and once you master the basics you will be on your way to becoming a speed reader.
Jonathan Mayheart has been writing speed reading tips and advice for internet sites in the last few years. Jonathan currently writes Speed Reading articles for the tips and advice website
Saturday, October 07, 2006
Wednesday, October 04, 2006
10 วิธีคืนสมดุลจิตใจสลายความ "เครียด"
1. ฟังเพลง (เราว่าข้อนี้ช่วยได้เยอะนะ)
หามุมสงบ นั่งปล่อยใจให้ล่องลอยอย่างเป็นธรรมชาติ แล้วฟังเพลงเบา ๆ โดยเฉพาะเพลงจำพวก Meditation ซึ่งเดี๋ยวนี้มีให้เลือกหลากหลายแบบตามความต้องการ ทั้งเสียงของดนตรีบรรเลง หรือเสียงธรรมชาติ จำพวกเสียงคลื่น..เสียงน้ำตก..เสียงนกร้อง รับรองว่าจะช่วยสร้างสมาธิให้กลับคื่นสู่สมองและจิตใจได้อย่างน่ามหัศจรรย์ในช่วงระยะเวลาเพียงสั้น ๆ เชียวล่ะ
2. ฉายเดี่ยวดูภาพยนตร์
ขอแนะนำให้ฉายเดี่ยวแล้วตีตั๋วดูหนังดี ๆ สักรอบ เพราะการไปดูหนังเนี่ยเป็นวิธีที่เวิร์คที่สุดที่จะปลดปล่อยความรู้สึกให้ล่องลอยอย่างเป็นอิสระไม่จมอยู่กับปัญหา แถมระบายความอัดอั้นตันใจได้อย่างเห็นผล แต่ต้องถามตัวเองก่อนนะว่ากำลังอยู่ในอารมณ์ไหน เช่น ถ้าอยากร้องไห้ก็ไปดูหนังรักเศร้าเคล้าน้ำตาแล้วก็ร้องไห้ออกมาซะให้พอ หรือถ้าเครียดจัดก็จงไปดูหนังตลกแล้วหัวเราะให้หลุดโลกไปเลย
3. โทรหาเพื่อนรู้ใจ
อย่าคิดว่าตัวเองจะแก้ปัญหาทุกปัญหาได้ดีไปซะหมด หัวใจสาวมั่นแม้จะแกร่งเพียงใดก็ยังต้องการที่พึ่งพิงเสมอ ยกหูโทรศัพท์หาเพื่อนรู้ใจสันคนแล้วระบายความรู้สึกให้เพื่อนได้รับรู้ เพราะการมีคนรับฟังและให้คำปรึกษา จะทำให้ชีวิตที่เอียงกะเท่เร่เริ่มเข้าที่เข้าทางมากขึ้น อย่างน้อยก็ยังรู้สึกว่า ไม่ได้แบกปัญหาอยู่คนเดียวในโลกไงล่ะ
4. เขียนไดอารี่ (นี่ก็เห็นด้วย บางส่วน)
การเขียนไดอารี่เปรียบเสมือนการเปิดประตูอารมณ์ที่ปล่อยให้ความอัดอั้นตันใจต่าง ๆ ได้ไหลลงสู่หน้ากระดาษอย่างเป็นอิสระและเป็นส่วนตัวที่สุด เพราะการถ่ายเทความรู้สึกในใจออกมา จะทำให้จิตใจปรับสมดุลได้เร็วขื้น อีกทั้งระหว่างการเขียนไดอารี่นั้นยังถือเป็นการทบทวนความรู้สึกตัวเองที่ดีที่สุดด้วย ส่วนข้อดีสุดเลิศอีกข้อก็คือ ไดอารี่เป็นเพื่อนสนิทที่ไว้ใจได้ที่สุด เพราะรับฟังเราเสมอและไม่เคยเอาความลับไปบอกต่อไงล่ะ
5. พลังแห่งการสัมผัส
ลองมองหาใครสักคนช่วยโอบกอดหรือสัมผัสเบา ๆ เวลารู้สึกเหนื่อยล้าดูสิ เพราะร่างกายคนเราเวลาถูกสัมผัสเนี่ย จะทำให้เกิดฮอร์โมนที่ชื่อ “อ๊อกซี่โทชิน” ซึ่งมีผลในการลดระดับความเหนื่อยและความเครียด ช่วยให้ร่างกายที่กำลังอ่อนล้ารู้สึกผ่อนคลายได้อย่างไม่น่าเชื่อ
6. สร้างอารมณ์ขัน
พยายามมองหาเพื่อนที่มีอารมณ์ขันช่วยกระตุ้นจิตใจที่แสนห่อเหี่ยวให้หัวเราะได้อีกครั้ง เพราะคนที่หัวเราะง่ายจะมีสุขภาพจิตที่ดี เนื่องจากการหัวเราะจะช่วยลดความดันโลหิตและระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลลง (ฮอร์โมนคอร์ติซอล = ฮอร์โมนแสดงความเหนื่อยล้าในกระแสเลือด) แถมยังช่วยเสริมสร้างระดับของ “อิมโมโนโกลบูลินเอ” ซึ่งเป็นสารแอนตี้บอดี้ที่สร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายอีกด้วยนะ เพราะฉะนั้นหัวเราะเข้าไว้ แล้วจะดีเอง
7. สูดกลิ่นหอม
รู้หรือเปล่าว่า...กลิ่นหอมของดอกไม้นานาพันธุ์มีผลในการช่วยปลุกประสาทสัมผัสให้สดชื่นตื่นตัว แถมยังกระตุ้นพลังงานในจิตใจได้เป็นอย่างดี เวลาเครียด ๆ ก็ลองสูดกลิ่นหอมของดอกไม้สิ อย่างกลิ่นกุหลาบ มะลิ ลาเวนเดอร์ หรือจะหยดน้ำมันหอมระเหยในน้ำอุ่นกำลังดี แล้วนอนแช่ตัวให้เพลินสักครึ่งชั่วโมงก็ได้ กลิ่นหอมจะช่วยให้รู้สึกดีขึ้นได้อย่างบอกไม่ถูกเชียวล่ะ
8. ไปตากอากาศ
หาเวลาหลบไปสูดอากาศบริสุทธิ์กับชีวิตท่ามกลางธรรมชาติสักพักสิ หายใจเข้าลึก ๆ ช้า ๆ ปล่อยสมองให้ว่างที่สุด แล้วก็นอนให้มากที่สุดเท่าที่อยากจะนอน เพราะบางทีความรู้สึกเหนื่อยล้าและหดหู่แบบไม่ทราบสาเหตุเนี่ยมันมาจากชีวิตที่ยุ่งเหยิงจนเกินไป เพราะฉะนั้นหลบไปนอนตากน้ำค้างดูดาวเสียบ้าง หัวใจจะได้ชาร์จพลังได้ดีขึ้น
9. หาสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน
ลองหาสัตว์เลี้ยงสักตัวมาเป็นเพื่อนเล่นก็ไม่เลวนะ เพราะการให้เวลากับสัตว์เลี้ยงตัวโปรด คุยเล่น หยอกล้อกับมันเสียบ้าง จะช่วยให้จิตใจอันแสนจะฟุ้งซ่าน สงบลงได้ แถมรู้จักการให้และมองโลกในแง่ดีมากขึ้นอีกต่างหาก ที่สำคัญยังช่วยลดความดันโลหิตได้อีกด้วยนะ
10. จินตนาการแสนสุข
อีกทางเลือกสำหรับการบรรเทาความหดหู่ในส่วนลึก เป็นการดึงตัวเองออกจากโลกปัจจุบัน ทำได้โดยหลับตาแล้วหายใจลึก ๆ จากนั้นก็สร้างจินตนาการถึงความฝันที่วาดหวังเอาไว้ หรือแม้แต่ความหลังอันแสนสุขที่เคยมีการดึงความสุขจากจินตนาการมาใช้จะทำให้เกิดพลังสร้างสรรค์ในหัวใจ และยังช่วยสลายความเครียดข้างในได้เป็นอย่างดี ทำแบบนี้เงียบ ๆ สัก 5 นาที
ทั้งหมดนี้ไปเอามาจาก blog รุ่นพี่ที่ http://thoiting.spaces.live.com/ ไม่ว่ากันนะคับ :)
หามุมสงบ นั่งปล่อยใจให้ล่องลอยอย่างเป็นธรรมชาติ แล้วฟังเพลงเบา ๆ โดยเฉพาะเพลงจำพวก Meditation ซึ่งเดี๋ยวนี้มีให้เลือกหลากหลายแบบตามความต้องการ ทั้งเสียงของดนตรีบรรเลง หรือเสียงธรรมชาติ จำพวกเสียงคลื่น..เสียงน้ำตก..เสียงนกร้อง รับรองว่าจะช่วยสร้างสมาธิให้กลับคื่นสู่สมองและจิตใจได้อย่างน่ามหัศจรรย์ในช่วงระยะเวลาเพียงสั้น ๆ เชียวล่ะ
2. ฉายเดี่ยวดูภาพยนตร์
ขอแนะนำให้ฉายเดี่ยวแล้วตีตั๋วดูหนังดี ๆ สักรอบ เพราะการไปดูหนังเนี่ยเป็นวิธีที่เวิร์คที่สุดที่จะปลดปล่อยความรู้สึกให้ล่องลอยอย่างเป็นอิสระไม่จมอยู่กับปัญหา แถมระบายความอัดอั้นตันใจได้อย่างเห็นผล แต่ต้องถามตัวเองก่อนนะว่ากำลังอยู่ในอารมณ์ไหน เช่น ถ้าอยากร้องไห้ก็ไปดูหนังรักเศร้าเคล้าน้ำตาแล้วก็ร้องไห้ออกมาซะให้พอ หรือถ้าเครียดจัดก็จงไปดูหนังตลกแล้วหัวเราะให้หลุดโลกไปเลย
3. โทรหาเพื่อนรู้ใจ
อย่าคิดว่าตัวเองจะแก้ปัญหาทุกปัญหาได้ดีไปซะหมด หัวใจสาวมั่นแม้จะแกร่งเพียงใดก็ยังต้องการที่พึ่งพิงเสมอ ยกหูโทรศัพท์หาเพื่อนรู้ใจสันคนแล้วระบายความรู้สึกให้เพื่อนได้รับรู้ เพราะการมีคนรับฟังและให้คำปรึกษา จะทำให้ชีวิตที่เอียงกะเท่เร่เริ่มเข้าที่เข้าทางมากขึ้น อย่างน้อยก็ยังรู้สึกว่า ไม่ได้แบกปัญหาอยู่คนเดียวในโลกไงล่ะ
4. เขียนไดอารี่ (นี่ก็เห็นด้วย บางส่วน)
การเขียนไดอารี่เปรียบเสมือนการเปิดประตูอารมณ์ที่ปล่อยให้ความอัดอั้นตันใจต่าง ๆ ได้ไหลลงสู่หน้ากระดาษอย่างเป็นอิสระและเป็นส่วนตัวที่สุด เพราะการถ่ายเทความรู้สึกในใจออกมา จะทำให้จิตใจปรับสมดุลได้เร็วขื้น อีกทั้งระหว่างการเขียนไดอารี่นั้นยังถือเป็นการทบทวนความรู้สึกตัวเองที่ดีที่สุดด้วย ส่วนข้อดีสุดเลิศอีกข้อก็คือ ไดอารี่เป็นเพื่อนสนิทที่ไว้ใจได้ที่สุด เพราะรับฟังเราเสมอและไม่เคยเอาความลับไปบอกต่อไงล่ะ
5. พลังแห่งการสัมผัส
ลองมองหาใครสักคนช่วยโอบกอดหรือสัมผัสเบา ๆ เวลารู้สึกเหนื่อยล้าดูสิ เพราะร่างกายคนเราเวลาถูกสัมผัสเนี่ย จะทำให้เกิดฮอร์โมนที่ชื่อ “อ๊อกซี่โทชิน” ซึ่งมีผลในการลดระดับความเหนื่อยและความเครียด ช่วยให้ร่างกายที่กำลังอ่อนล้ารู้สึกผ่อนคลายได้อย่างไม่น่าเชื่อ
6. สร้างอารมณ์ขัน
พยายามมองหาเพื่อนที่มีอารมณ์ขันช่วยกระตุ้นจิตใจที่แสนห่อเหี่ยวให้หัวเราะได้อีกครั้ง เพราะคนที่หัวเราะง่ายจะมีสุขภาพจิตที่ดี เนื่องจากการหัวเราะจะช่วยลดความดันโลหิตและระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลลง (ฮอร์โมนคอร์ติซอล = ฮอร์โมนแสดงความเหนื่อยล้าในกระแสเลือด) แถมยังช่วยเสริมสร้างระดับของ “อิมโมโนโกลบูลินเอ” ซึ่งเป็นสารแอนตี้บอดี้ที่สร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกายอีกด้วยนะ เพราะฉะนั้นหัวเราะเข้าไว้ แล้วจะดีเอง
7. สูดกลิ่นหอม
รู้หรือเปล่าว่า...กลิ่นหอมของดอกไม้นานาพันธุ์มีผลในการช่วยปลุกประสาทสัมผัสให้สดชื่นตื่นตัว แถมยังกระตุ้นพลังงานในจิตใจได้เป็นอย่างดี เวลาเครียด ๆ ก็ลองสูดกลิ่นหอมของดอกไม้สิ อย่างกลิ่นกุหลาบ มะลิ ลาเวนเดอร์ หรือจะหยดน้ำมันหอมระเหยในน้ำอุ่นกำลังดี แล้วนอนแช่ตัวให้เพลินสักครึ่งชั่วโมงก็ได้ กลิ่นหอมจะช่วยให้รู้สึกดีขึ้นได้อย่างบอกไม่ถูกเชียวล่ะ
8. ไปตากอากาศ
หาเวลาหลบไปสูดอากาศบริสุทธิ์กับชีวิตท่ามกลางธรรมชาติสักพักสิ หายใจเข้าลึก ๆ ช้า ๆ ปล่อยสมองให้ว่างที่สุด แล้วก็นอนให้มากที่สุดเท่าที่อยากจะนอน เพราะบางทีความรู้สึกเหนื่อยล้าและหดหู่แบบไม่ทราบสาเหตุเนี่ยมันมาจากชีวิตที่ยุ่งเหยิงจนเกินไป เพราะฉะนั้นหลบไปนอนตากน้ำค้างดูดาวเสียบ้าง หัวใจจะได้ชาร์จพลังได้ดีขึ้น
9. หาสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน
ลองหาสัตว์เลี้ยงสักตัวมาเป็นเพื่อนเล่นก็ไม่เลวนะ เพราะการให้เวลากับสัตว์เลี้ยงตัวโปรด คุยเล่น หยอกล้อกับมันเสียบ้าง จะช่วยให้จิตใจอันแสนจะฟุ้งซ่าน สงบลงได้ แถมรู้จักการให้และมองโลกในแง่ดีมากขึ้นอีกต่างหาก ที่สำคัญยังช่วยลดความดันโลหิตได้อีกด้วยนะ
10. จินตนาการแสนสุข
อีกทางเลือกสำหรับการบรรเทาความหดหู่ในส่วนลึก เป็นการดึงตัวเองออกจากโลกปัจจุบัน ทำได้โดยหลับตาแล้วหายใจลึก ๆ จากนั้นก็สร้างจินตนาการถึงความฝันที่วาดหวังเอาไว้ หรือแม้แต่ความหลังอันแสนสุขที่เคยมีการดึงความสุขจากจินตนาการมาใช้จะทำให้เกิดพลังสร้างสรรค์ในหัวใจ และยังช่วยสลายความเครียดข้างในได้เป็นอย่างดี ทำแบบนี้เงียบ ๆ สัก 5 นาที
ทั้งหมดนี้ไปเอามาจาก blog รุ่นพี่ที่ http://thoiting.spaces.live.com/ ไม่ว่ากันนะคับ :)
Subscribe to:
Posts (Atom)